เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๒ )
บุคคลให้ทานไม่ได้เพราะเหตุผล ๒ ประการ คือ ความ ตระหนี่ และความประมาท บัณฑิตผู้รู้แจ้ง เมื่อต้องการบุญพึงให้ทาน คนตระหนี่กลัวความอดอยากยากจน เพราะความกลัวจนนั่นแหละ จะเป็นภัยแก่ผู้ไม่ให้ และจะกลับมามีผลต่อคนพาลผู้หลงผิด ฉะนั้น บัณฑิตพึงครอบงำมลทิน กำจัดความตระหนี่แล้วรีบให้ทาน เพราะบุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อรกศาสดา
ในยุคสมัยที่มนุษย์มีอายุเฉลี่ย ๖๐,๐๐๐ ปี มีเจ้าลัทธิ ผู้เรืองปัญญาท่านหนึ่ง ชื่อ อรกะ เป็นเจ้าลัทธิผู้ปราศจากความกำหนัดยินดีในกาม อร กศาสดามีสาวกหลายร้อยคน ท่านสอนสาวกเสมอว่า ดูก่อนพราหมณ์ ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลาย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ควรรีบทำบุญกุศล ควรประพฤติพรหมจรรย์ เพราะสัตว์ที่เกิดมาแล้ว จะไม่ตายนั้นย่อมไม่มี
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทาน คือ ชีวิต
อย่างไรก็ตาม ตายเร็วตายช้าก็ไม่ได้เป็นเครื่องวัดความมีโชคดีที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ต้องดูตัดสินขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ว่าได้สั่งสมบุญกุศลใดบ้าง และมองไหลไปถึงชีวิตหลังความตายได้ว่า ตายแล้วไปไหน มีสุคติหรือทุคติเป็นที่ไป เมื่อเข้าใจเช่นนี้แล้ว ต้องไม่ประมาทในวัยและชีวิต ด้วยการหมั่นหาโอกาสสั่งสมบุญให้มากที่สุด ก่อนที่ความตายจะมาถึง
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๔ )
ฝ่ายมหาทุคตะกลับจากวิหารเห็นเหตุอัศจรรย์เช่นนั้น บังเกิดมหาปีติ ขนลุกไปทั่วสรรพางค์ ปลื้มใจว่า ฝนรัตนะ ๗ ประการ ตกเพราะพุทธานุภาพอันไม่มีประมาณ รวมทั้งบุญญานุภาพที่ตัวได้ทำในวันนี้ จากนั้นเขารีบไปยังราชสำนัก พลางกราบทูลพระราชาว่า "บ้านของข้าพระองค์เต็มไปด้วยรัตนะ ๗ ประการ ขอพระองค์ทรงให้ราชบุรุษนำเกวียนไปขนทรัพย์นั้นมาเถิด พระเจ้าข้า"
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ชิตัง เม... เราชนะแล้ว
ยามใดที่เราพรั่งพร้อมด้วยโภคทรัพย์สมบัติ มีศรัทธา พบเนื้อนาบุญยามนั้นเราย่อมสร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แต่ยามใดที่เราไม่มีไทยธรรมหรือโภคทรัพย์สมบัติ แม้จะมีศรัทธา มีเนื้อนาบุญ เราก็ไม่อาจจะให้ทานได้ กว่าจะสร้างบารมีอื่นๆ ได้แต่ละอย่าง ก็แสนจะลำบาก เพราะฉะนั้นทานบารมีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญของนักสร้างบารมี
อาจิณณกรรม
ภัยของสัตว์ผู้เกิดมาแล้ว ย่อมมีเพราะต้องตายแน่นอน เหมือนภัยของผลไม้สุก ย่อมมีเพราะต้องหล่นในยามเช้าฉะนั้น
ทวยเทพสดับธรรม
บัณฑิตทั้งหลาย ฟังธรรมแล้ว ย่อมเป็นผู้มีจิตผ่องใส เหมือนห้วงนํ้าที่มีความลึก เป็นห้วงนํ้าใสสะอาด ไม่มีความขุ่น ฉะนั้น
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และพระคุณของพระองค์ ก็เป็นอจินไตย
หนทางสู่ธรรมกาย
ดูก่อนวาเสฏฐะ คำว่า ธรรมกายก็ดี คำว่า พรหมกายก็ดี คำว่า ธรรมภูต ก็ดี หรือคำว่า พรหมภูตก็ดี เป็นชื่อของพระตถาคต
ผู้ตื่นที่แท้จริง
เมื่อคนทั้งหลายในโลกนี้ตื่นอยู่ ใครเป็นผู้หลับ แต่เมื่อคนทั้งหลายในโลกนี้ หลับแล้ว ใครเป็นผู้ตื่น ใครเข้าใจปัญหาข้อนี้ของเรา ใครจะแก้ปัญหาข้อนี้ของเราได้